| |
---|---|
Following the Protestant Reformation, groups such as the Puritans strongly condemned the celebration of Christmas, considering it a Catholic invention and the "trappings of popery" or the "rags of the Beast." The Catholic Church responded by promoting the festival in a more religiously oriented form. King Charles I of England directed his noblemen and gentry to return to their landed estates in midwinter to keep up their old style Christmas generosity. Following the Parliamentarian victory over Charles I during the English Civil War,England's Puritan rulers banned Christmas in 1647. Protests followed as pro-Christmas rioting broke out in several cities and for weeks Canterbury was controlled by the rioters, who decorated doorways with holly and shouted royalist slogans. The book, The Vindication of Christmas (London, 1652), argued against the Puritans, and makes note of Old English Christmas traditions, dinner, roast apples on the fire, card playing, dances with “plow-boys” and “maidservants”, and carol singing. The Restoration of King Charles II in 1660 ended the ban, but many clergymen still disapproved of Christmas celebration. In Scotland, the Presbyterian Church of Scotland also discouraged observance of Christmas. James VI commanded its celebration in 1618, however attendance at church was scant.
ในระหว่างการปฏิรูปของนิกายโปรแตสแต้นท์ กลุ่มคนที่เคร่งครัดในศีลธรรมได้วิจารณ์ว่าการฉลองเทศกาลคริสต์มาสของชาวคาทอลิกว่า เป็นเหมือน "คำสอนที่เป็นได้แค่เครื่องประกอบ" และ "ความเดือดดาลของสัตว์ร้าย" ดังนั้นโบสถ์นิกายโรมันคาทอลิกได้ส่งเสริมให้เทศกาลนี้น่าเลื่อมใสมากขึ้นโดยเน้นพิธีกรรมทางศาสนามากขึ้น จากนั้น กษัตริย์ชาลส์ที่ 1 ได้สั่งการให้เหล่าขุนนางและชนชั้นสูงกลับบ้านเกิดในช่วงกลางฤดูหนาวเพื่อคงไว้ซึ่งประเพณีดั้งเดิมของวันคริสต์มาส จากชัยชนะของฝ่ายรัฐสภาเหนือฝ่ายกษัตริย์ชาลส์ที่ 1 ในสงครามกลางเมืองในปี 1647ประมุขของกลุ่มผู้เคร่งครัดในศาสนาก็ได้ยกเลิกเทศกาลนี้ และสิ่งที่ตามมาก็คือเกิดก่อจลาจลจากผู้ต่อต้านในหลายเมือง และประมาณหนึ่งสัปดาห์ต่อมาเมืองแคนเทอบิวรี่ก็ตกอยู่ในความควบคุมของกลุ่มผู้ก่อการจลาจล ซึ่งพวกเขาได้ตกแต่งทางเข้าออกด้วยดอกฮอลลิ และคอยตะโกนกล่าวคำสรรเสริญกษัตริย์ของพวกเขายังมีข้อความในหนังสือ The Vindication of Christmas (London, 1652) ที่โต้แย้งกลุ่มผู้เคร่งครัดทางศาสนา และบันทึกประเพณีการฉลองคริสต์มาสแบบเก่าของอังกฤษซึ่งประกอบด้วย การทานอาหารค่ำ การปิ้งแอปเปิ้ล เล่นไพ่ การเต้นรำกับเด็กชายท้องนาและสาวรับใช้ และร่วมร้องเพลงประสานเสียง จนมาถึงปี 1660 ในยุคฟื้นฟูสมัยของกษัตริย์ชาลส์ที่ 2 การยกเลิกงานเทศกาลก็สิ้นสุดลง แต่พวกนักบวชก็ยังคงไม่ยอมรับการเฉลิมฉลอง ในประเทศสก็อตแลนด์ โบสถ์ของชาวโปรแตสแตนท์นั้นไม่เห็นด้วยการการเฉลิมฉลองนี้เหมือนกัน กษัตริย์เจมส์ที่หกได้สั่งให้มีการจัดงานฉลองคริสต์มาสต์แต่กลับมีผู้มาร่วมงานน้อย In Colonial America, the Puritans of New England shared radical protestant disapproval of Christmas. Celebration was outlawed in Boston from 1659 to 1681. The ban by the Pilgrims was revoked in 1681 by English governor Sir Edmund Andros, however it wasn't until the mid 1800's that celebrating Christmas became fashionable in the Boston region. At the same time, Christian residents of Virginia and New Yorkobserved the holiday freely. Pennsylvania German Settlers, pre-eminently the Moravian settlers of Bethlehem, Nazareth and Lititz in Pennsylvania and the Wachovia Settlements in North Carolina, were enthusiastic celebrators of Christmas. The Moravians in Bethlehem had the first Christmas trees in America as well as the first Nativity Scenes. Christmas fell out of favor in the United States after the American Revolution, when it was considered an English custom. George Washington attacked Hessian mercenaries on Christmas during the Battle of Trenton in 1777. (Christmas being much more popular in Germany than in America at this time.) รัฐปูริตานส์แห่งนิว อิงแลนด์ อาณานิคมของอเมริกา ได้ถูกพวกเคร่งศาสนานิกายโปรแตสแต้นท์ขัดขวางและต่อต้านงานเทศกาล แต่ในปี 1659 ถึง 1681 มีการฉลองอย่างผิดกฎหมายในเมืองบอสตันซึ่งต่อมาการขัดขางและต่อต้านนี้ ได้ถูกยกเลิกโดยผู้ว่าการชาวอังกฤษชื่อ Sir Edmund Andros ในปี 1681 อย่างไรก็ตามงานฉลองประเพณีคริสต์มาสก็ยังไม่ได้รับการตอบรับเท่าที่ควรจนกระทั่งกลางปีที่ 1800 ความนิยมในเทศกาลนี้ถึงกระจายไปทั่วพื้นที่ของเมืองบอสตัน ในเวลาเดียวกัน ชาวคริสเตียนในเวอร์จีเนียและนิวยอร์กต่างได้รับอิสระในการฉลองประเพณีนี้ผู้ตั้งถิ่นฐานชาวเยอรมันในเมืองเพนซิวาเนีย, ชาวโมราเวียนซึ่งมีอยู่น้อยมากในเมืองเบธเลเฮม, ชาวนาซาเรซ และลิทิซ ในเมืองเพนซิวาเนีย และ ชาววาโชเวียในนอร์ท คาโรไรน่าตื่นตัวมากที่จะได้ฉลองกับเทศกาลคริสต์มาส, ชาวโมราเวียนในเมืองเบธเลเฮมมีต้นคริสต์มาสต้นแรกของอเมริกาเช่นเดียวกับฉากการประสูติของพระเยซูก็เกิดขึ้นครั้งแรกที่นี่แต่หลังจากการปฏิวัติอเมริกา เทศกาลคริสต์มาสก็เริ่มเสื่อมความนิยมลงเมื่อทุกคนต่างลงความเห็นว่าคริสต์มาสเป็นเทศกาลของชาวอังกฤษ ปี 1777 จอร์จ วอชิงตันได้โจมตีกลุ่มพ่อค้าชาวเฮซเซียนในวันคริสต์มาสในสมรภูมิ the Battle of Trenton (ในช่วงเวลานี้เทศกาลคริสต์มาสเป็นที่นิยมในเยอรมันมากกว่าอเมริกา) By the 1820s, sectarian tension had eased in Britain and writers, including William Winstanly, began to worry that Christmas was dying out. These writers imagined Tudor Christmas as a time of heartfelt celebration, and efforts were made to revive the holiday. Charles Dickens' novel A Christmas Carol, published in 1843, helped revive the 'spirit' of Christmas and seasonal merriment. Its instant popularity played a major role in portraying Christmas as a holiday emphasizing family, goodwill, and compassion. Prominent phrases in Dickens' Yultide tale, 'Bah! Humbug!', and 'Merry Christmas', grew in usage in the English language. Also in 1843, the first Christmas card was produced by Sir Henry Cole. The revival of the Christmas Carol began with William B. Sandys Christmas Carols Ancient and Modern (1833), with the first appearance in print of 'The First Noel', 'I Saw Three Ships', 'Hark the Herald Angels Sing' and 'God Rest Ye Merry, Gentlemen', popularized in Dickens' A Christmas Carol. Other English carols such as 'We Wish You A Merry Christmas' and 'Oh Come All Ye Faithful' also grew in popularity. Singing carols in church was later instituted on Christmas Eve 1880 (Nine Lessons and Carols) in Truro Cathedral, Cornwall, England, which is now seen in churches all over the world. ราวช่วงทศวรรษที่ 1820 ความเข้มงวดของลัทธิต่าง ๆ ในสหราชอาณาจักรเริ่มเสื่อมลงนักเขียนทั้งหลายรวมถึงวิลเลียม วินสแตนลี เริ่มกังวลว่าคริสต์มาสจะสูญสลายไปพวกนักเขียนจินตนาการว่าเทศกาลคริสต์มาสคือเวลาแห่งการเฉลิมฉลอง และได้พยายามกระทำวิธีการต่าง ๆเพื่อฟื้นฟูเทศกาลนี้ จนกระทั่งเมื่อนวนิยายเรื่อง A Christmas Carol ของ Charles Dickens ได้ถูกตีพิมพ์ในปี 1843 ซึ่งช่วยฟื้นฟูจิตวิญญาณแห่งวันคริสต์มาสและเทศกาลแห่งความรื่นเริงคริสต์มาสจึงเริ่มกลับมามีบทบาทสำคัญเพราะเป็นเทศกาลที่เน้นความสำคัญของครอบครัวความปราถนาดี และความเห็นอกเห็นใจ มีการนำประโยคเด่นในนิยายของ Dicken ที่ว่า Bah! Humbug!' และ 'Merry Christmas' มาใช้ในภาษาอังกฤษ และในปี 1843 การ์ดอวยพรวันคริสต์มาสใบแรกก็ถูกผลิตขึ้นมาโดย เซอร์ เฮนรี่ โคลย์ เพลงประสานเสียงคริสต์มาสเริ่มถูกฟื้นฟูกลับมาโดย วิลเลียม บี แซนดี้ส์ จากบทความเรื่อง William B. Sandys Christmas Carols Ancient and Modern (1833) ซึ่งตีพิมพ์ครั้งแรกใน 'The First Noel', 'I Saw Three Ships', 'Hark the Herald Angels Sing' และ 'God Rest Ye Merry, Gentlemen' ที่โด่งดังในหนังสือ A Christmas Carol ของ Dickens และเพลงประสานเสียงอื่นๆของอังกฤษก็ได้รับความนิยมเช่น 'We Wish You A Merry Christmas' และ 'Oh Come All Ye Faithful' การร้องเพลงประสานเสียงในโบสถ์ในคืนก่อนวันคริสต์มาสเริ่มมีมาตั้งแต่ ปี 1880 ในเมือง ทรูโร แคธีดรอล รัฐคอนวอล ประเทศอังกฤษ (คำกลอน และ เพลงร้องประสานเสียงอย่างละ 9 บท) ซึ่งปัจจุบันสามารถพบเห็นกิจกรรมดังกล่าวได้ในทุกโบสถ์ทั่วโลก In Britain, the Christmas tree was introduced in the early 1800's at the time of the personal union with Hanover, by Charlotte of Mecklenburg-Strelitz,Queen to King George III, but the custom did not immediately spread far beyond the royal family. After Queen Victoria's marriage to her German cousin, Prince Albert, by 1841 the custom became more widespread throughout Britain. A powerful image of the British Royal family with their Christmas tree at Windsor Castle, initially published in the Illustrated London News December 1848, was copied in the United States at Christmas 1850, in Godey's Lady's Book (illustration, right). Godey's copied it exactly, except removed the Queens crown, and Prince Alberts moustache, to remake the engraving into an American scene. The republished Godey's image in 1850, the first widely circulated picture of a decorated evergreen Christmas tree in America, the Art historian Karal Ann Marling called "the first influential American Christmas tree". Folk-culture historian Alfred Lewis Shoemaker states; "In all of America there was no more important medium in spreading the Christmas tree in the decade 1850-60 than Godey's Lady's Book". The image was reprinted in 1860, and by the 1870s, putting up a Christmas tree had become common in America. ในประเทศอังกฤษ ต้นคริสต์มาสได้ถูกนำเข้ามาเผยแพร่ในตอนต้นปี 1800 ในช่วงที่ราชินี Charlotte of Mecklenburg-Strelitz ราชินีแห่งกษัตริย์จอร์จที่ 3 ไปเยือนที่เมืองฮันโนเวอร์เป็นการส่วนพระองค์แต่ประเพณีดังกล่าวกลับไม่ได้รับความนิยมจากเจ้าฟ้าในราชวงค์มากนัก หลังจากที่พระนางวิคตอเรียอภิเสกสมรสกับเจ้าชายอัลเบิร์ท พระญาติชาวเยอรมันของพระองค์ในปี 1841 ประเพณีการตกแต่งต้นคริสต์มาสก็ขยายวงกว้างออกไปทั่วประเทศ ภาพลักษณ์ของราชวงศ์อังกฤษกับต้นคริสต์มาสที่พระราชวังวินเซอร์เป็นภาพลักษณ์ที่ทรงอิทธิพลมาก ในช่วงแรกมีการตีพิมพ์ภาพเหมือนลงในหนังสือลอนดอน นิวส์ เมื่อเดือนธันวาคม ปี 1848 ต่อมาได้ถูกลอกเลียนแบบในประเทศสหรัฐอเมริกาในหนังสือ Godey's Lady's Book (มีภาพประกอบบทความด้านขวา) ในปี 1850
โดยเลียนแบบภาพเหมือนของประเทศอังกฤษทุกประการ เว้นแต่เอามงกุฎของราชินีและหนวดของเจ้าชายอัลเบิร์ทออก เพื่อใช้เป็นฉากในภาพยนต์เรื่องใหม่ของอเมริกาการเผยแพร่ภาพของ Godey ในปี 1850 เป็นภาพแรกที่มีการเอาต้นคริสต์มาสสีเขียวมาตกแต่งในอเมริกา
Karal Ann Marling นักประวัติศาสตร์ศิลป์เรียกเจ้าชายอัลเบิร์ทและราชินีวิคตอเรียว่าเป็นเหมือน "ผู้ที่มีอิทธิพลแรกของต้นคริสต์มาสในอเมริกา" นอกจากนี้ Alfred Lewis Shoemaker นักประวัติศาสตร์มนุษยวิทยาและวัฒนธรรม กล่าวไว้ว่า “เรื่องของการเผยแพร่และค่านิยมของต้นคริสต์มาสนั้น ในประวัติศาสตร์ของอเมริกาชน ไม่มีเหตุการณ์ใดสำคัญมากไปกว่าเหตุการณ์ การเผยแพร่ของ Godey's Lady's Book ในช่วงทษวรรษที่ 1850-1860 ซึ่งกลายมาเป็นส่วนหนึ่งในประเพณีคริสต์มาสของชาวอเมริกา” In America, interest in Christmas had been revived in the 1820s by several short stories by Washington Irving which appear in his The Sketch Book of Geoffrey Crayon and "Old Christmas", for which he used the tract Vindication of Christmas (1652) of old English Christmas traditions, he had transcribed into his journal as a format for his stories. ในอเมริกานั้น ความสนใจในเทศกาลคริสต์มาสได้ถูกฟื้นฟูในช่วงปีที่ 1820 จากการที่มีเรื่องสั้นหลายเรื่องของ Washington Irving ถูกตีพิมพ์ลงในหนังสือที่เขาเป็นเจ้าของชื่อ The Sketch Book of Geoffrey Crayon และ "Old Christmas" ซึ่งเขาได้ใช้เรื่องราวประเพณีพื้นบ้านของเทศกาลคริสต์มาสดั้งเดิมของชาวอังกฤษจากหนังสือเรื่อง Vindication of Christmas (1652) มาดัดแปลงและถ่ายทอดออกเป็นงานเขียนของเขาเอง In 1822, Clement Clarke Moore wrote the poem A Visit From St. Nicholas (popularly known by its first line: Twas the Night Before Christmas). Irving's stories depicted harmonious warm-hearted holiday traditions he claimed to have observed in England. Although some argue that Irving invented the traditions he describes, they were widely imitated by his American readers. ปี 1822 Clement Clarke Moore ได้เขียนกลอนชื่อ การมาเยือนของเซ็นต์นิโคลัส (ซึ่งเป็นที่รู้จักดีจากข้อความในบันทัดแรกของบทกลอนที่ว่า Twas the Night Before Christmas) เรื่องสั้นของ Irving พรรณนาถึงเทศกาลและประเพณีที่แสดงออกถึงความสามัคคี และความมีจิตใจดีซึ่งเขาอ้างว่าสังเกตการณ์มาจากประเทศอังกฤษ แม้ว่าบางคนจะเถียงว่า Irving ได้อุปโลกน์ประเพณีที่เขาอธิบายถึงขึ้นมา แต่ผู้อ่านชาวอเมริกันก็เลียนแบบประเพณีนี้กันอย่างกว้างขวาง The poem A Visit from Saint Nicholas helped popularize the tradition of exchanging gifts, and seasonal Christmas shopping began to assume economic importance. This also started the cultural conflict of the holiday's spiritualism and its commercialism that some see as corrupting the holiday. บทกลอน การมาเยือนของเซ็นต์ นิโคลัส ทำให้ธรรมเนียมการแลกของขวัญได้รับความนิยมมากขึ้น ทำให้การค้าในช่วงคริสต์มาสเข้ามามีส่วนสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจซึ่งนี่ก็เป็นที่มาของความขัดแย้งเรื่องภูตผี เพราะพ่อค้าบางคนเห็นว่าความเชื่อเรื่องนี้จะเป็นบ่อนทำลายความรื่นเริงของเทศกาล In her 1850 book "The First Christmas in New England", Harriet Beecher Stowe includes a character who complains that the true meaning of Christmas was lost in a shopping spree. While the celebration of Christmas wasn't yet customary in some regions in the U.S, Henry Wadsworth Longfellow detected "a transition state about Christmas here in New England" in 1856. "The old puritan feeling prevents it from being a cheerful, hearty holiday; though every year makes it more so". ในหนังสือเรื่อง "คริสต์มาสแรกในนิวอิงแลนด์" ของ Harriet Beecher Stowe ที่ตีพิมพ์ในปี 1850 มีตัวละครหนึ่งที่บ่นว่าความหมายที่แท้จริงของวันคริสต์มาสได้เลือนหายไปในความรื่นเริงของการช้อปปิ้ง ในขณะที่การฉลองเทศกาลคริสต์มาสยังไม่ได้กลายมาเป็นธรรมเนียมในบางพื้นที่ของอเมริกา Henry Wadsworth Longfellow ตรวจพบว่า "มีการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับวันคริสต์มาสในนิวอิงแลนด์" และในปี 1856 เขาก็ออกมากล่าวอีกว่า "ความรู้สึกของพวกเคร่งศาสนาหัวโบราณเป็นตัวกันคริสต์มาสออกจากความสนุก ร่าเริงแม้ว่าทุกปีจะยิ่งทวีความรื่นเริงมากขึ้น" In Reading, Pennsylvania, a newspaper remarked in 1861 "Even our presbyterian friends who have hitherto steadfastly ignored Christmas — threw open their church doors and assembled in force to celebrate the anniversary of the Savior’s birth". The First Congregational Church of Rockford, Illinois, ‘although of genuine Puritan stock’, was ‘preparing for a grand Christmas jubilee’, a news correspondent reported in 1864. By 1860, fourteen states including several from New England had adopted Christmas as a legal holiday. In 1870, Christmas was formally declared a United States Federal holiday, signed into law by President Ulysses S. Grant. Subsequently, in 1875, Louis Prang introduced the Christmas card to Americans. He has been called the
"father of the American Christmas card".
หนังสือพิมพ์เพนซิลวาเนียได้เขียนไว้เมื่อปี 1861 ว่า "แม้เพื่อนชาวเพรซบิเทียเรียนของเราที่ไม่เคยให้ความสนใจในเทศกาลคริสต์มาส ก็ยังเปิดประตูโบสถ์ออก แล้วรวมตัวกันเพื่อเฉลิมฉลองในวันครบรอบวันประสูติของพระผู้เป็นเจ้า" โบสถ์แรกสุดที่มีการรวมตัวกันเพื่อเฉลิมฉลองกับเทศกาลนี้ ได้แก่ Church of Rockford ในรัฐอิลลินอยส์ ‘แม้แต่พวกที่เคร่งศาสนาอย่างแท้จริง ก็ยังเตรียมตัวที่จะเฉลิมฉลองใหญ่ในงานครบรอบ 50 คริสต์มาส’ เป็นข่าวที่ถูกพาดหัวในปี 1864 และในปี 1860 รัฐถึง 14 รัฐได้รวมถึงพื้นที่ส่วนใหญ่ในนิวอิงค์แลนด์ ได้ลงมติให้วันคริสต์มาส เป็นวันหยุดราชการตามกฎหมาย ในปี 1870 มีการประกาศว่า วันคริสต์มาส คือวันหยุดของสหพันธรัฐอย่างเป็นทางการ ซึ่งลงนามโดยประธานาธิบดี Ulysses S. Grant และต่อมาในปี 1875 Louis Prang ได้ริเริ่มเผยแพร่การ์ดอวยพรวันคริสต์มาสให้ชาวอเมริกันได้รู้จัก ทำให้เขาได้รับฉายาว่า "บิดาแห่งการ์ดคริสต์มาสของอเมริกา" | |
วันพฤหัสบดีที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2556
Merry Christmas 9
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น