วันพฤหัสบดีที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2556

Merry Christmas 4

Pre-Christian background

 
Dies Natalis Solis Invicti means "the birthday of the unconquered Sun." The use of the title Sol Invictus allowed several solar deities to be worshipped collectively, including Elah-Gabal,
a Syrian sun god; Sol, the god of Emperor Aurelian; and Mithras, a soldiers' god of Persian origin. Emperor Elagabalus (218–222) introduced the festival, and it reached the height of
its popularity under Aurelian, who promoted it as an empire-wide holiday. This day had held no significance in the Roman festive calendar until it was introduced in the third century.

Dies Natalis Solis Invicti หมายความว่า “วันเกิดของเทพเจ้าแห่งพระอาทิตย์ 
ผู้ที่ไม่มีใครเอาชนะได้” การใช้คำนำหน้า Sol Invictus จะอนุญาตให้ใช้กับเทพแห่งดวงอาทิตย์ที่ได้รับการให้ความเคารพในชนหมู่มาก ได้แก่ Elah-Gabal, เทพแห่งดวงอาทิตย์ของชาวซีเรีย Sol เทพซึ่งเป็นจักรพรรดิของชาว Aurelian และ Mithras องครักษ์เทพของชาวเปอร์เซียพื้นเมือง จักรพรรดิ Elagabalus (ปี 218-222) เป็นผู้นำเอาประเพณีนี้เข้ามา ซึ่งได้รับความนิยมมากในหมู่ชาว Aurelian ซึ่งต่อมาได้กลายมาเป็นวันหยุดประจำราชอาณาจักร แต่เทศกาลนี้ก็ไม่ได้รับการระบุลงในปฏิทินเทศกาลของโรมัน จนกระทั่งศตวรรษที่ 3

Dies Natalis Solis Invicti

The festival was placed on the date of the solstice because this was on this day that the Sun reversed its southward retreat and proved itself to be "unconquered."Several early Christian writers connected the rebirth of the sun to the birth of Jesus. "O, how wonderfully acted Providence that on that day on which that Sun was born...Christ should be born", Cyprian wrote. John Chrysostom also commented on the connection: "They call it the 'Birthday of the Unconquered'. Who indeed is so unconquered as Our Lord . . .?"

เทศกาลนี้ถูกระบุลงในวันที่กลางวันสั้นที่สุด เพราะเป็นวันที่ดวงอาทิตย์หมุนกลับไปทางใต้เพื่อจะพิสูจน์ถึงการ "ไม่อาจเอาชนะได้" ซึ่งนักเขียนชาวคริสเตียนหลายคนได้เชื่อมเอาการกลับมาของดวงอาทิตย์ไปโยงกับการประสูติขององค์พระเยซู Cyprian ได้เขียนเอาไว้ว่า “การกำเนิดของดวงอาทิตย์ช่างงดงาม....พระเยซูคริสต์เองก็ควรประสูติในวันเช่นนี้” John Chrysostom เองก็ได้เขียนเอาไว้เช่นกันว่า “พวกเขาเรียกวันนั้นว่า วันเกิดของผู้ที่ไม่มีใครเอาชนะได้ แล้วใครกันที่จะไม่มีวันพ่าย หากไม่ใช่พระผู้เป็นเจ้า”
 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น